วันพฤหัสบดีที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

ครั้งที่ 3 วันที่ 21 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2556

สรุปความรู้ที่ได้จากการเรียนในวันนี้
4. เด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกายและสุขภาพ (Children with physical and Health Impairments)

  • อวัยวะไม่สมส่วน
  • อวัยวะส่วนใดหายไป
  • ปัญหาระบบประสาท
  • ลำบากต่อการเคลื่อนไหว
จำแนกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ

1. บกพร่องทางร่างกาย  ได้แก่
       ซีพี (Cerebral Palsy)
  • เกิดจากสมองพิการ  สมองถูกทำลายก่อนคลอด  ระหว่างคลอด  หรือหลังคลอด
  • เคลื่อนไหว  พูด  พัฒนาการล่าช้า
อาการ
  • อัมพาตเกร็ง  แขน  ขา  ครึ่งซีก
  • เคลื่อนไหวผิดปกติ
  • สูญเสียการทรงตัว 
       กล้ามเนื้ออ่อนแรง (Muscular Distrophy)
  • เส้นประสาทควบคุมสมองกล้ามเนื้อสลายตัว
  • เดินไม่ได้  นั่งไม่ได้  นอนอยู่กับที่
  • พิการซ้ำซ้อนภายหลัง  ความจำแย่ลง  ปัญญาเสื่อม
       โรคทางระบบกระดูกกล้ามเนื้อ (Orthopedic)
  •  ระบบกล้ามเนื้อพิการตั้งแต่กำเนิด เท้าปุก
  • กระดูกข้อสะโพกเคลื่อน
  • อัมพาตครึ่งท่อน
  • กระดูกกล้ามเนื้อจากโคติดเชื้อ
  • กระดูกหัก  ข้อเคลื่อน
       โปลีโอ (Poliomyelitis)
  • กล้ามเนื้อเฃลีบเล็ก
  • เชื้อเข้าทางปาก
       แขนขาด้านตั้งแต่กำเนิด (Limb Deficiency)
       โรคกระดูกอ่อน (Osteogenesis  Imperfeta)
2. บกพร่องทางสุขภาพ  ได้แก่
       โรคลมชัก  (Epilepsy)

  • เกิดจากความผิดปกติของสมอง
  • ลมบ้าหมู  ชักหมดสติ  แขนขากระตุก  กัดฟัน  กัดลิ้น
  • การชักในช่วงเวลาสั้นๆ  5-10  วินาที  เด็กจะหยุดชะงักในท่าก่อนชัก  อาจนั่งเฉย  ตัวสั่น  เล็กน้อย
  • การชักแบบรุนแรง  ส่งเสียง  หมดความรู้สึกล้มลง  กล้ามเนื้อเกร็ง  2-5  นาที
  • อาการชักแบบ  Partial  Complex  เกิดเป็นระยะ  กัดริมฝีปาก  ไม่รู้สึกตัว  ดูตามแขนขา  เดินไปมา  อาจโกรธ  หลังชักจำไม่ได้  ต้องการนอนพัก
  • อาการไม่รู้สึกตัว  ระยะสั้น  ไม่รู้สึกตัว  อาจร้องเพลง  ดึงเสื้อผ้า  เดินเหม่อลอย
       โรคระบบทางเดินหายใจ
       โรคเบาหวาน
       โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์
       โรคศีรษะโต
       โรคหัวใจ
       โรคมะเร็ง
       เลือดไหลไม่หยุด

ลักษณะบกพร่องทางร่างกายและบกพ่องทางสุขภาพ

  • มีปัญหาการทรงตัว
  • เดินคล้ายกรรไกร
  • เดินขากะเผลก  อืดอาด  เชื่องช้า
  • ไอเสียงแห้งบ่อยๆ
  •   มักบ่นเจ็บหน้าอก  บ่นปวดหัว
  • หน้าแดงง่าย  สีเขียวจางบนแก้ม  ปาก  ปลายนิ้ว
  • ล้มบ่อย
  • หิวและกระหายน้ำเกินกว่าเหตุ
5. เด็กที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษา(Children  with  Speech  and  Language  Impairment)
       1.) ผิดปกติด้านการออกเสียง
  • เพี้ยนจากภาษาเดิม
  • เพิ่มเสียง
  • ใช้อีกเสียงแทนเสียงเดิม
       2.) ความผิดปกติด้านจังหวะ  เวลาพูด  เช่น  พูดรัว  พูดติดอ่าง
       3.) ความผิดปกติด้านเสียง
  • ระดับเสียง
  • ความดัง
  • คุณภาพเสียง
4.) ความผิดปกติทางการพูดและภาษาอันเนื่องมาจากพยาธิที่สมอง  เรียกว่า  Dysphasia  หรือ  Aphasia  แบ่งเป็น
  • Motor Aphasia  เข้าใจคำสั่ง  แต่พูดตอบไม่ได้  ออกเสียงลำบาก
  • Wernicks  Aphasia  ไม่เข้าใจคำสั่ง  ได้ยินแต่ไม่เข้าใจความหมาย  ออกเสียงไม่ติดขัดแต่ใช้คำผิดหรือไม่มีความหมาย
  • Conduction  Aphasia  ออกเสียงไม่ติดขัด  เข้าใจคำถาม  แต่พูดตามไม่ได้  บอกชื่อสิ่งของไม่ได้  เกิดร่วมกับอัมพาตของร่างกสยซีกขวา
  • Nominal  Aphasia  ออกเสียงได้  เข้าใจคำถามดี  พูดตามได้  แต่บอกชื่อวัตถุไม่ได้
  • Global  Aphasia  ไม่เข้าใจภาษาพูด  ภาษเขียน  พูดไม่ได้
  • Sensory  Agrophia  เขียนเองไม่ได้  เขียนตอบคำถาม  ชื่อวัตถุไม่ได้  แต่เขียนตามได้
  • Motor  Agraphia  ลอกตัวเขียนหรือตัวพิมพ์ไม่ได้  เขียนตามคำบอกไม่ได้
  • Cortical  Alexa  อ่านไม่ออกเพราะไม่เข้าใจภาษา
  • Motor  Alexia  เห็นตัวหนังสือแล้วเข้าใจ  แต่อ่านออกเสียงไม่ได้
  • Gerstmann' s syndrome
- ไม่รู้ชื่อนิ้ว
- ไม่รู้ซ้าย  ขวา
-  คำนวนไม่ได้
-  เขียนไม่ได้
- อ่านไม่ออก
  • Visual  Agnosia  เห็นวัตถุแต่ไม่รู้ว่าเป็นอะไร
  • Auditory  Agnosia  ไม่บกพร่องทางการได้ยินแต่แปลความหมายที่ได้ยินไม่เข้าใจ
ลักษณะ
  • วัยทารกมักเงียบผิดปกติ  ร้องไห้เบาๆ  อ่อนแรง
  • ไม่อ้อแอ้ภายใน  10  เดือน
  • ไม่พูดภายใน  2  ขวบ
  • หลัง  3  ขวบยังฟังไม่เข้าใจ
  • ออกเสียงตัวสะกดไม่ได้
  • หลัง  5  ขวบ  ใช้ภาษาไม่สมบูรณ์
  • มีปัญหาการสื่อความหมาย  พูดตะกุกตะกัก
  • ใช้ท่าทางในการสื่อความหมาย

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น